มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation

มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation

ความคิดเห็น

🌱การติดตามผลของกิจกรรม สร้างป่าให้ชุมชน ณ ป่าชุมชนบ้านถ้ำน้ำพุ ต.ทับกวาง อ.แก่งคอย จ.สระบุรี
🌳🌳 หลังจากการดำเนินกิจกรรม 1 เดือน การปลูกป่าของบริษัทติลลิกีแอนด์กิบบินส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด พบว่าต้นไม้ที่มีการปลูกมีอัตราการรอดตาย 100 เปอร์เซ็นต์ นับเป็นเรื่องที่ดีในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับสิ่งแวดล้อมและชาวบ้านในพื้นที่ ดังนั้นขอขอบคุณบริษัทติลลิกีแอนด์กิบบินส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ที่เล็งเห็นความสำคัญและประโยชน์ในกิจกรรมปลูกป่าให้ชุมชน

🌳🌳ต้นไม้ให้อะไรมากกว่าที่เราคิด🤔

สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ ⬇️⬇️⬇️
Facebook : มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation
Instagram : NSRF_Foundation
Email : [email protected]
Website : https://nsrf.or.th
Phone number : 0937815002
#วันเด็กแห่งชาติ 2566 👧🏻🧒🏻👦🏽👩🏼👱🏻
ใกล้งานวันเด็กแห่งชาติ 2566 ท่านใดสนใจบริจาคสิ่งของ หรือ ทุนทรัพย์
สามารถติดต่อมายังทางโรงเรียนบ้านฮั่ว หรือ Inbox สอบถามมาทางมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น ได้เลยนะคะ
เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2565
#กิจกรรมสร้างป่าให้ชุมชน

🌱ณ ป่าชุมชนบ้านถ้ำน้ำพุ ต.ทับกวาง อ.แก่งคอย จ.สระบุรี
จุดบริการนักท่องเที่ยว บ้านถ้ำน้ำพุ
https://maps.app.goo.gl/kv85rkx38BH8DZu77?g_st=ic
หลังจากที่เราได้จัดกิจกรรมและได้สัมผัสชุมชนและพื้นที่ป่าเราจึงมีความแน่วแน่เต็มไปด้วยความตั้งใจที่แรงกล้าที่จะสร้างป่าผืนนี้ให้มีระบบนิเวศกลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้งหนึ่ง

🌱มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นจึงได้เล็งเห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่ และได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างมากจาก “บริษัทI Plus Q จำกัด บริษัท เดอะมิทธ์ จำกัด และบริษัท I am ingredient จำกัด”
โดยกำหนดกิจกรรมขึ้นมาชื่อว่า “ สร้างป่าให้ชุมชน ภายใต้โครงการฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นด้วยราไมคอร์ไรซา” ภายในกิจกรรมดังกล่าวมีการให้ความรู้ความเข้าใจและสร้างจิตสำนึกให้กับชาวบ้านในพื้นที่และบุคลากรภายในบริษัท

🌱ภายในการจัดกิจกรรมมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น ได้ให้ความรู้ทางวิชาการและการปฏิบัติในพื้นที่จริง โดยให้ความรู้ในเรื่องของจุลินทรีย์และเห็ดรา รวมไปถึงการปลูกป่าอย่างไรให้ได้ป่า
ดังนั้นการปลูกป่าแบบประณีตจึงเป็นสิ่งสำคัญในการให้ความรู้ในเรื่องของการปลูกป่า โดยมี
👱🏼‍♂️”อาจารย์นพพร นนทภา” ที่ปรึกษามูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น และ
👩🏼“ผศ.ดร. จิตรตรา เพียภูเขียว” ประธานกรรมการมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น
เป็นผู้ให้ความรู้ในกิจกรรมสร้างป่าให้ชุมชน

🌱การปลูกป่าอย่างไรให้ได้ป่า จะสำเร็จได้จะต้องปลูกไม้พื้นถิ่นที่เป็นระบบนิเวศเดิม และการประณีตตั้งแต่การปลูกจนไปถึงการดูแลจนเกิดป่าที่สมบูรณ์ พื้นที่ป่าชุมชนแห่งนี้มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นจึงไม่ใช่แค่ปลูกแล้วหันหลังกลับ แต่ทางเรารับผิดชอบและดูแลเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 3 ปี เพื่อให้แน่ใจว่าพื้นที่แห่งนี้จะเป็นป่าขึ้นมาเหมือนดั่งเดิม

🌳สุดท้ายนี้ขอขอบคุณบริษัทI Plus Q จำกัด บริษัท เดอะมิทธ์ จำกัด และบริษัท I am ingredient จำกัด
https://www.iplusq.com
https://www.facebook.com/iplusq
http://www.themyth.co.th/
https://www.facebook.com/themythsince1998
https://iamingredient.com/who-am-i

และความร่วมมือต่างๆจากชาวบ้านภายในชุมชน รวมไปถึงหน่วยงานราชการภายในท้องถิ่น และสำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 5 (สระบุรี)
ที่เล็งเห็นความสำคัญและประโยชน์ในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับชุมชนและประเทศ เพื่อลดปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก รวมถึงการสร้างจิตสำนึกและตระหนักถึงความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืน🌳

🪴ท่านใดที่สนใจร่วมกิจกรรม หรือ สนใจการจัดกิจกรรม เพื่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน🪴

สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ ⬇️⬇️⬇️
Facebook : มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation
Instagram : NSRF_Foundation
Email : [email protected]
Website : https://nsrf.or.th
Phone number : 0937815002
📣 ประกาศรางวัลผู้ร่วมโหวตภาพถ่ายที่ #เหตุผลโดนใจกรรมการ จากกิจกรรมชิงเงินรางวัลร่วมโหวตภาพถ่ายโดนใจ 📸 ในหัวข้อ 🌳 “ปลูกป่า...ได้มากกว่าป่า” 🍄

รางวัลถูกใจที่สุดดด‼️
🏆 คุณพิชิตชัย หงษ์ทอง

รางวัลถูกใจเหมือนกันนะจ๊ะ 😘
🏅 คุณเกรียงไกร​ ฮ่อ​ง​เฮง​เส็ง​
🏅 คุณนิอามีนะห์ เจ๊ะอาแซ
🏅 คุณวิชฟยา พันธ์สวัสดิ์

ขอแสดงความยินดีกับผู้ที่ได้รับรางวัลทุกท่านด้วยค่า!!! 👏👏👏
รอรับการติดต่อจากพวกเราทางอีเมลได้เลยนะคะ 😊💚
#มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น #ปลูกป่าให้ได้ป่า
📣 ประกาศภาพที่ได้รับผลโหวตมากที่สุด จากกิจกรรมชิงเงินรางวัลร่วมโหวตภาพถ่ายโดนใจ 📸 ในหัวข้อ
🌳 “ปลูกป่า...ได้มากกว่าป่า” 🍄

ผลงานภาพถ่าย “ฝีมือชุมชน” จาก #โครงการฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นด้วยราเอคโตไมคอร์ไรซาในประเทศไทย ที่ชนะเลิศได้แก่......

🌟✨ ภาพที่ 4 "จากปาล์ม...สู่ป่า" ✨🌟
ผู้ร่วมส่งประกวด: แปลงโครงการฯ จ.กระบี่

สำหรับใครที่ร่วมโหวตภาพนี้ รอติดตามประกาศรายชื่อผู้ที่ #ให้เหตุผล ถูกใจคณะกรรมการ #คืนนี้ เวลา 20.00 น. และเตรียมรับการติดต่อทางอีเมลจากพวกเรานะคะ ขอขอบคุณทุกการโหวตที่ล้นหลามมาก ๆ เลยค่า 😊💚

#มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น #ปลูกป่าให้ได้ป่า
เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2565
#กิจกรรมสร้างป่าให้ชุมชน

🌱ณ ป่าชุมชนบ้านถ้ำน้ำพุ ต.ทับกวาง อ.แก่งคอย จ.สระบุรี
จุดบริการนักท่องเที่ยว บ้านถ้ำน้ำพุ
https://maps.app.goo.gl/kv85rkx38BH8DZu77?g_st=ic
พื้นที่ป่าชุมชนแห่งนี้มีประวัติศาสตร์อันยาวนานตั้งแต่ยุคสมัยทราวดี และเป็นพื้นที่ป่าอันเก่าแก่ที่หนึ่งของไทย ในพื้นที่ป่าชุมชนดังกล่าวเป็นพื้นที่ที่มีแร่หินปูนเป็นจำนวนมาก จึงทำให้อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์เข้ามาทำเหมืองและทำลายทรัพยากรธรรมชาติให้เสื่อมสภาพลง

🌱มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นจึงได้เล็งเห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่ และได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างมากจาก “บริษัท ติลลีกีแอนด์กิบบินส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด”
โดยกำหนดกิจกรรมขึ้นมาชื่อว่า “ สร้างป่าให้ชุมชน ภายใต้โครงการฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นด้วยราไมคอร์ไรซา” ภายในกิจกรรมดังกล่าวมีการให้ความรู้ความเข้าใจและสร้างจิตสำนึกให้กับชาวบ้านในพื้นที่และบุคลากรภายในบริษัท

🌱ภายในการจัดกิจกรรมมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น ได้ให้ความรู้ทางวิชาการและการปฏิบัติในพื้นที่จริง โดยให้ความรู้ในเรื่องของจุลินทรีย์และเห็ดรา รวมไปถึงการปลูกป่าอย่างไรให้ได้ป่า
ดังนั้นการปลูกป่าแบบประณีตจึงเป็นสิ่งสำคัญในการให้ความรู้ในเรื่องของการปลูกป่า โดยมี
👱🏼‍♂️”อาจารย์นพพร นนทภา” ที่ปรึกษามูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น และ
👩🏼“ผศ.ดร. จิตรตรา เพียภูเขียว” ประธานกรรมการมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น
เป็นผู้ให้ความรู้ในกิจกรรมสร้างป่าให้ชุมชน

🌱การปลูกป่าอย่างไรให้ได้ป่า จะสำเร็จได้จะต้องปลูกไม้พื้นถิ่นที่เป็นระบบนิเวศเดิม และการประณีตตั้งแต่การปลูกจนไปถึงการดูแลจนเกิดป่าที่สมบูรณ์ พื้นที่ป่าชุมชนแห่งนี้มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นจึงไม่ใช่แค่ปลูกแล้วหันหลังกลับ แต่ทางเรารับผิดชอบและดูแลเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 3 ปี เพื่อให้แน่ใจว่าพื้นที่แห่งนี้จะเป็นป่าขึ้นมาเหมือนดั่งเดิม

🌳สุดท้ายนี้ขอขอบคุณบริษัทติลลิกีแอนด์กิบบินส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด
https://www.facebook.com/tillekegibbins
http://www.tilleke.com/
และความร่วมมือต่างๆจากชาวบ้านภายในชุมชน รวมไปถึงหน่วยงานราชการภายในท้องถิ่น และสำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 5 (สระบุรี)
ที่เล็งเห็นความสำคัญและประโยชน์ในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับชุมชนและประเทศ เพื่อลดปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก รวมถึงการสร้างจิตสำนึกและตระหนักถึงความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืน🌳

🪴ท่านใดที่สนใจร่วมกิจกรรม หรือ สนใจการจัดกิจกรรม เพื่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน🪴

สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ ⬇️⬇️⬇️
Facebook : มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation
Instagram : NSRF_Foundation
Email : [email protected]
Website : https://nsrf.or.th
Phone number : 0937815002
❌❌ ปิดรับผลโหวตแล้วค่า! ❌❌
ติดตามผลประกาศรางวัล #ภาพชนะเลิศ และ #เหตุผลโดนใจ ได้ทางเพจ FB ของเรา วันพุธที่ 23 พ.ย. 65 นะคะ
ขอขอบคุณทุกคำตอบที่ส่งมาร่วมสนุกชิงรางวัลกันนะค้า 🥰🙏

----------

กิจกรรมชิงเงินรางวัล 📣 ร่วมโหวตภาพถ่ายโดนใจ 📸 ในหัวข้อ

🌳 “ปลูกป่า...ได้มากกว่าป่า” 🍄

ผลงานภาพถ่ายจาก “ฝีมือชุมชน” จาก #โครงการฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นด้วยราเอคโตไมคอร์ไรซาในประเทศไทย
(https://www.youtube.com/watch?v=VsqEjdVX5h0&t=12s)

ผู้ที่ร่วมโหวตภาพถ่ายที่ชนะเลิศ และ #ให้เหตุผล ถูกใจคณะกรรมการที่สุด จะได้รับรางวัลเงินสด
🥇 มูลค่า 1,000 บาท จำนวน 1 รางวัล
🏅 มูลค่า 500 บาท จำนวน 3 รางวัล

กติกาในการเข้าร่วมสนุก คือ สามารถเข้าไปโหวตภาพถ่ายได้ที่นี่
☘️ https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLSe9krBWAV6OPAPaAtwO6YE_-MUgE1XbsHfa8flSC9c8zVgiYg/viewform ☘️

#มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น #ปลูกป่าให้ได้ป่า

‼️ ปิดโหวต ‼️ วันพุธที่ 16 พ.ย. เวลา 12.00 น.
ประกาศผลโหวตและผู้ได้รับรางวัลหน้าเพจ FB: มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น

มาร่วมโหวตกันเยอะ ๆ น้า 😊💚
#เมื่อวันที่ 14-15 ตุลาคม 2565 ณ บ้านเชตวัน ตำบลสันทะ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน
#สถานีวิจัยและถ่ายทอด เทคโนโลยีไหล่น่าน จุฬาฯ จ.น่าน

🌱 มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น และบริษัท I Plus Q จำกัด ได้สนับสนุน และเข้าร่วมการทำกิจกรรมภาคสนาม ในการเรียนรู้นอกพื้นที่ในเชิงปฏิบัติการปลูกต้นไม้ฟื้นฟู ในวิชาเรียน “ปลูกไม้พื้นถิ่นของไทย” ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ภายในการจัดกิจกรรมทางมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นได้ให้ความรู้ทางวิชาการและการปฏิบัติในพื้นที่จริง โดยให้ความรู้ด้านชนิดพรรณไม้ จุลินทรีย์ และเห็ดรา รวมไปถึง “การปลูกป่า อย่างไรให้ได้ป่า” การปลูกแบบประณีตจึงเป็นสิ่งสำคัญในการฟื้นฟู การให้ความรู้ในครั้งนี้ โดย “อาจารย์นพพร นนทภา” ที่ปรึกษามูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น และ “ผศ.ดร.จิตรตรา เพียภูเขียว” ประธานกรรมการมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น

กิจกรรมร่วมในครั้งนี้ต้องขอขอบคุณผู้สนับสนุนกิจกรรม บริษัท I Plus Q จำกัด ในการเล็งเห็นประโยชน์ และการเพิ่มพื้นที่สีเขียว เพื่อส่วนรวม และสร้างการเรียนรู้และจิตสำนึกแก่นิสิตในการอนุรักษ์และหวงแหนป่าสืบต่อไป

💐การปลูกป่าที่ดี ไม่ใช่เกิดจากลงมือทำแต่เป็นการปลูกป่าแบบประณีตตั้งแต่จิตใจคน ปลูกป่าปลูกจิตสำนึกที่ดีต่อสังคม เพื่อโลกนี้ให้น่าอยู่กันต่อไปคะ💐
#สัญญาณไฟฟ้าของเห็ดราสามารถสื่อสารได้เหมือนมนุษย์ จริงหรือ?

ศาสตราจารย์แอนดรูว์ อดามัตสกี และคณะนักวิทยาการคอมพิวเตอร์ จากมหาวิทยาลัยภาคตะวันตกแห่งอังกฤษ (University of the West of England)
ได้ทำการวิเคราะห์แบบแผนทางคณิตศาสตร์ของสัญญาณไฟฟ้าจากเห็ดราบางชนิด จนพบว่ามันมีความคล้ายคลึงเชิงโครงสร้างอย่างมากเมื่อเทียบกับคำพูดของมนุษย์
🍄
รายงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารของราชสมาคมแห่งกรุงลอนดอน Royal Society Open Science.
ระบุว่า มีการใช้ขั้วไฟฟ้าปักลงในดินที่มีกลุ่มของเส้นใยเห็ดราแผ่กระจายตัวอยู่ จากนั้นได้บันทึกการส่งสัญญาณไฟฟ้าที่เกิดขึ้นเป็นเวลาหลายชั่วโมง โดยเห็ดราที่ใช้ในการทดลองนี้มี 4 ชนิด ได้แก่เห็ดเข็มทอง, เห็ดแครง, เห็ดเรืองแสง และเชื้อราในหนอนผีเสื้อหรือถั่งเช่า
🍄
ผลวิเคราะห์พบว่า เห็ดราทั้ง 4 ชนิด มีการส่งสัญญาณไฟฟ้ากระชั้นถี่ขึ้นเป็นจังหวะ เมื่อมีสิ่งกระตุ้นเร้า เช่น เมื่อค้นพบอาหารหรือสารพิษที่ต้องหลีกหนีให้ไกล โดยมีรูปแบบของสัญญาณที่เคลื่อนไหวบ่อยถี่กว่าปกติถึง 50 แบบด้วยกัน ซึ่งโครงสร้างของสัญญาณเหล่านี้คล้ายกับคำศัพท์ในภาษามนุษย์อย่างมาก
🍄
ถึงกระนั้นก็ตาม เรายังไม่อาจสรุปได้ว่าเห็ดราสามารถสื่อสารได้เหมือนมนุษย์ ผู้นำทีมวิจัยกล่าวสรุปว่า "อันที่จริงแล้ว มีความเป็นไปได้ว่าเห็ดราไม่ได้พูดคุยอะไรกันเลย และเรายังไม่พบข้อบ่งชี้ที่จะตัดสินได้แน่นอนว่ามันคือภาษาอีกรูปแบบหนึ่ง แต่อย่างไรก็ตาม ดูเหมือนว่าสัญญาณไฟฟ้าชนิดพิเศษที่เราพบนั้นไม่ได้เกิดขึ้นแบบสุ่ม และควรจะติดตามศึกษาให้ละเอียดลึกซึ้งขึ้นต่อไป"

🌱สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่ : https://www.bbc.com/thai/international-61057144
ในหัวข้อ “สัญญาณไฟฟ้าของเห็ดราคล้ายภาษามนุษย์ นักวิจัยคาดรู้จักใช้คำศัพท์สื่อสารถึง 50 คำ”

องค์กรเพื่อฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นและลดภาวะโลกร้อนอย่างยั่งยืน // NPO for reforestation with native species

26/08/2023

ช่วงนี้มีข่าวผู้พบพืชหน้าตาน่ารัก #พิศวงไทยทอง หรือ #พิศวงตานกฮูก (𝑇ℎ𝑖𝑠𝑚𝑖𝑎 𝑡ℎ𝑎𝑖𝑡ℎ𝑜𝑛𝑔𝑖𝑎𝑛𝑎) พรรณไม้ชนิดใหม่ของโลก วันนี้เราจะพาทุกท่านมาทำความรู้จักกับน้องกันค่ะ

#พิศวงไทยทอง หรือ #พิศวงตานกฮูก เป็นไม้ล้มลุก ขึ้นบนดิน ไม่มีคลอโรฟิลล์ เป็นพืชอาศัยรา พบขึ้นบนดินที่เกิดจากการย่อยสลายของหินปูน ในป่าเต็งรังค่อนข้างแห้ง ที่สูงจากระดับทะเลปานกลางประมาณ 900 เมตร พบที่ ดอยหัวหมด อำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก มีการศึกษาโดย รศ.ดร.สหัช จันทนาอรพินท์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ ดร.สมราน สุดดี สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช

ส่วนคำระบุชนิด "𝑡ℎ𝑎𝑖𝑡ℎ𝑜𝑛𝑔𝑖𝑎𝑛𝑎" ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่ รองศาสตราจารย์ ดร.อบฉันท์ ไทยทอง อดีตอาจารย์ประจำ #ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นปูชนียบุคคลของวงการพรรณไม้ของไทย และเป็นผู้ให้กำลังใจและสร้างแรงผลักดันให้ทั้ง 2 ท่านศึกษาวิจัยพืชสกุล 𝑇ℎ𝑖𝑠𝑚𝑖𝑎

Photos from มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation's post 15/08/2023

#กิจกรรมสร้างป่าให้ชุมชน ป่าชุมชนบ้านถ้ำน้ำพุ หมู่ที่ 10 ต.ทับกวาง อ.แก่งคอย จ.สระบุรี

📌หลังจากการจัดกิจกรรม ปลูกไม้พื้นล่าง เพิ่มไปยังพื้นที่ ป่าชุมชน การดูแลหลังการปลูกของมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น ยังคงเป็นสิ่งจำเป็น โดยเฉพาะการดูแลในกรณี ที่มีไม้พื้นล่าง หรือ ไม้สมุนไพร ปลูกแทรกภายในพื้นที่
1) ทำการกำจัดวัชพืชภายในพื้นที่ทั้งหมด (เฉพาะฤดูฝน)
2) กำจัดวัชพืชรอบโคนต้นไม้พื้นล่าง โดยใช้การถากถางวัชพืชออก
3) ดูแล ตรวจสุขภาพต้นไม้ ว่า เริ่มมีโรค และ 🐛🦟แมลงรุกรานหรือไม่

หลังจากปลูกต้นกล้าเกือบปี ตอนนี้อัตราการรอดตาย ยังคง 100%
และไม้พื้นล่างถยอยเจริญเติบโตขึ้นมาภายในพื้นที่

🌳 ขอขอบคุณบริษัทติลลิกีแอนด์กิบบินส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด หลังจากจัดกิจกรรม (CSR) ด้านสิ่งแวดล้อมกับทางมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น ทางบริษัทได้ให้การสนับสนุนและเห็นคุณค่าในการวางแผนดูแลหลังการปลูกอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างป่า.....ให้เป็นป่าต่อไป

🪴ท่านใดที่สนใจร่วมกิจกรรม หรือ สนใจการจัดกิจกรรม เพื่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน🪴
สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ ⬇️⬇️⬇️
Facebook : มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation
Instagram : NSRF_Foundation
Email : [email protected]
Website : https://nsrf.or.th
Phone number : 0937815002

Photos from มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation's post 17/07/2023

เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2566
#มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น ได้ดำเนินการจัดโครงการ “ปลูกไม้พื้นถิ่นในโรงเรียน”
ณ โรงเรียนบ้านแม่หว่าง จ.ลำพูน

☁️เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมความรู้ และสร้างพื้นที่สีเขียวให้กับโรงเรียน

⛅️การส่งเสริมให้ความรู้ในครั้งนี้ ผศ. ดร. จิตรตรา เพียภูเขียว ประธานมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น เป็นผู้ส่งเสริมให้ความรู้ให้กับเด็กๆ โดยสอนในเรื่อง
⛈️climate change
🌱พฤกษศาสตร์
🍀การเพาะเมล็ดไม้
🍄เห็ดในป่าของเรา
🌳การดูแลกล้าไม้อย่างประณีต

⛅️การจัดกิจกรรมครั้งนี้ทางมูลนิธิขอขอบคุณบริษัท แฟชั่นฟู๊ด จำกัด บริษัท Wanmai Thai Premium Foods จำกัด และ บริษัท Siam Wanmai Group จำกัด ที่ให้การสนับสนุนของ อาหาร และขนมแจกเด็กๆ ในครั้งนี้

🌝ทางโรงเรียนบ้านแม่หว่าง กำลังจะจัดกิจกรรม ทำบุญปล่อยปลามหากุศล เนื่องในวโรกาสวันแม่แห่งชาติ 12 สิงหาคม ท่านใดที่อยากสนับสนุนกับทางโรงเรียน สามารถร่วมกิจกรรมได้ตามภาพที่ลงในโพสต์ได้เลยคะ #สามารถลดหย่อนภาษีได้ถึง2เท่า สามารถแจ้งยอดและรายละเอียดในคอมเมนท์หรือ Inbox ได้เลยนะคะ

🌤️อนาคตของชาติเราสามารถสร้างได้จากการพัฒนา ส่งเสริม และปลูกฝังให้กับเยาวชน เพื่อให้เขาสามารถต่อยอดพัฒนาสังคมต่อไป

🪴ต้องการสนับสนุนในโครงการสามารถบริจาคสนับสนุนได้ที่
ธนาคารไทยพาณิชย์
กองทุนมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น
436-031882-0

สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ 🔽🔽🔽
Facebook : มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation
Instagram : NSRF_Foundation
Email : [email protected]
Website : https://nsrf.or.th
Phone number : 0937815002

15/07/2023

เขตเงาฝน คืออะไร? คลิปนี้มีคำตอบ.....

15/07/2023

"ภัยแล้ง" จาก "เอลนีโญ" ปีนี้ อาจลากยาวถึงปี 2567 คนไทยรับมืออย่างไร?

https://www.blockdit.com/posts/64846ea36cfe7ed6fad87ed4

Photos from มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation's post 12/07/2023

เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2566
#มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น ได้ดำเนินการจัดโครงการ “ปลูกไม้พื้นถิ่นในโรงเรียน”
ณ โรงเรียนบ้านฮั่ว จ.ลำพูน

❇️เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมความรู้ และสร้างพื้นที่สีเขียวให้กับโรงเรียน

❇️ปีนี้เป็นปีที่ 2 ของการส่งเสริมให้ความรู้ ปลูกจิตสำนึกในการอนุรักษ์ รักษา ธรรมชาติแลสิ่งแวดล้อม รอบโรงเรียนและรอบตัวที่เขาอยู่อาศัย

❇️การส่งเสริมให้ความรู้ในปีนี้เป็นการทบทวนความรู้ของ
🌱พฤกษศาสตร์
⛰️ภูมิประเทศ
☁️ภูมิอากาศ
รวมทั้ง 🪨ดิน ในถิ่นอาศัย
และ🍀การเพาะเมล็ดไม้
🌳การดูแลกล้าไม้อย่างประณีต

❇️การจัดกิจกรรมครั้งนี้ทางมูลนิธิขอขอบคุณบริษัท แฟชั่นฟู๊ด จำกัด บริษัท Wanmai Thai Premium Foods จำกัด และ บริษัท Siam Wanmai Group จำกัด ที่ให้การสนับสนุนของ อาหาร และขนมแจกเด็กๆ ในครั้งนี้

🪴ต้องการสนับสนุนในโครงการสามารถบริจาคสนับสนุนได้ที่
ธนาคารไทยพาณิชย์
กองทุนมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น
436-031882-0

สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ 🔽🔽🔽
Facebook : มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation
Instagram : NSRF_Foundation
Email : [email protected]
Website : https://nsrf.or.th
Phone number : 0937815002

Photos from มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation's post 10/07/2023

วันที่ 28 มิถุนายน 2566

#มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น ได้ดำเนินการจัดโครงการ “ปลูกไม้พื้นถิ่นในโรงเรียน”
เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมความรู้ และสร้างพื้นที่สีเขียวให้กับโรงเรียน

👧🏻ในครั้งนี้ทางมูลนิธิได้เดินทางให้ความรู้ที่ ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” บ้านห้วยปูหลวง กลุ่มห้วยปูหลวง ​​อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่​

👦🏻เป็นกลุ่มชนชาติพันธุ์ กระเหรี่ยง “ปกาเกอะญอ” โรงเรียนแห่งนี้อยู่ห่างไกลจากทางตัวอำเภออมก๋อย พอสมควร ใช้เวลาเดินทางไปกลับ ถึง 2 ชั่วโมง

🧒🏻หลังจากที่ทางมูลนิธิได้เข้าไปส่งเสริมเราจึงรู้ถึงปัญหาที่เกิดขึ้น เช่นการขาดแคลนของผ้าอนามัย สำหรับเด็กสาวในโรงเรียน และขาดหนังสือองค์ความรู้พื้นฐานหลายด้าน

🪴การจัดกิจกรรมครั้งนี้ทางมูลนิธิขอขอบคุณบริษัท แฟชั่นฟู๊ด จำกัด บริษัท Wanmai Thai Premium Foods จำกัด และ บริษัท Siam Wanmai Group จำกัด ที่ให้การสนับสนุนของ อาหาร และขนมแจกเด็กๆ ในครั้งนี้

🪴ท่านใดสนใจสนับสนุนของใช้ หนังสือ หรือสมทบทุนต่างๆ หรือส่งมองการศึกษาให้เด็กๆที่นี่ สามารถติดต่อสอบถาม ได้ที่
Facebook : มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation
Instagram : NSRF_Foundation
Email : [email protected]
Website : https://nsrf.or.th
Phone number : 0937815002

🪴ต้องการสนับสนุนในโครงการสามารถบริจาคสนับสนุนได้ที่
ธนาคารไทยพาณิชย์
กองทุนมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น
436-031882-0

25/06/2023

เมื่อเข้าสู่หน้าฝนทางมูลนิธิฯ คิดหมกมุ่นอยู่แค่ฟื้นฟูป่ากับทำยังไงที่จะเพิ่มพื้นที่สีเขียวขึ้นมาให้กับโลกใบนี้ได้นะ
ทันใดนั้น……คณะกรรมการของเราก็ได้หยิบโครงการหนึ่งขึ้นมาที่ชื่อว่า “โครงการปลูกไม้พื้นถิ่นในโรงเรียน” เป็นกิจกรรมที่

🌍 สร้างพื้นที่สีเขียว
🌍เสริมสร้างพัฒนาการเรียนรู้
🌍ปลูกจิตสำนึกอนุรักษ์หวงแหนธรรมชาติ

ให้กับเยาวชนที่อยู่ในโรงเรียนและคุณครูในโรงเรียนที่จะช่วยกันเพิ่มพื้นที่ป่า และ ฟื้นฟูธรรมชาติให้กลับมาน่าอยู่อีกครั้ง

26 มิถุนายน 2566 ถึง 2 กรกฎาคม 2566 ที่จะถึงนี้ ทางมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น จึงได้คัดสรรโรงเรียน ประกอบด้วย
🪴โรงเรียนบ้านห้วยปูหลวง อ.อมก๋อย จ.เชียงใหม่
🪴โรงเรียนบ้านฮั่ว อ.ลี้ จ.ลำพูน

โดยได้รับการสนับสนุนจาก
🌼ผู้ที่บริจาคเข้ามาในกองทุนมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น
🌸คุณมาลี นิเวศนา
🌺 บริษัท แฟชั่นฟู้ด จำกัด
🌷บริษัท WanMai Thai Premium Foods
🪷บริษัท Siam WanMai Group

🪴ท่านใดต้องการสนับสนุนในโครงการสามารถบริจาคสนับสนุนได้ที่
ธนาคารไทยพาณิชย์
กองทุนมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น
436-031882-0

🪴ท่านใดที่สนใจร่วมกิจกรรม หรือ สนใจการจัดกิจกรรม เพื่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน🪴
สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ ⬇️⬇️⬇️
Facebook : มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation
Instagram : NSRF_Foundation
Email : [email protected]
Website : https://nsrf.or.th
Phone number : 0937815002

Photos from มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation's post 23/06/2023

#กิจกรรมสร้างป่าให้ชุมชน ภายใต้โครงการฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นด้วยราไมคอร์ไรซา
(17 มิถุนายน 2566)
🌱ณ ป่าชุมชนบ้านถ้ำน้ำพุ ต.ทับกวาง อ.แก่งคอย จ.สระบุรี
จุดบริการนักท่องเที่ยว บ้านถ้ำน้ำพุ
https://maps.app.goo.gl/kv85rkx38BH8DZu77?g_st=ic

🌸หลังจากที่ได้ดำเนินการฟื้นฟูป่าและดูแลหลังการปลูกอย่างมีประสิทธิภาพ เราก็เดินทางมาถึง #การฟื้นฟูระบบนิเวศป่า Step ที่ 2 คือ “การปลูกไม้พื้นล่าง” ประกอบด้วย
🪴ต้นปอกระสา (Broussonetia papyrifera ) = ยาชูกำลังแก้อ่อนเพลีย ฯลฯ
🪴ต้นฟ้าทะลายโจร (Andrographis paniculata) = เพื่อรักษาไข้ ไข้หวัด อาการไอ เจ็บคอ คออักเสบ ฯลฯ
🌱กระเจียว (Curcuma sessilis) = บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ และลดกรดในกระเพาะอาหาร จึงช่วยทำให้รู้สึกสบายท้องและช่วยให้สุขภาพดี ฯลฯ
🌱ไพลดำ (Zingiber ottensii) = เป็นยาอายุวัฒนะบำรุงร่างกาย รักษาอาการเคล็ดขัดยอก ฟกช้ำ แก้เหน็บชา แก้อาการช้ำใน ช่วยสมานแผล สลายลิ่มเลือดที่แข็งตัว ขับประจำเดือน ฯลฯ
🌱กระชายดำ (Kaempferia parviflora) = ใช้บำรุงกำลัง แก้ปวดเมื่อยและอาการเหนื่อยล้า และเพิ่มสมรรถภาพทางเพศ ขับลม เป็นยาอายุวัฒนะ แก้จุกเสียด แก้ปวดท้อง ฯลฯ
🌱ขมิ้นชัน(Curcuma longa) = ท้องอืด ท้องเฟ้อ ลดไขมันในเลือด การอักเสบของผิวหนัง ปวดศีรษะ ฯลฯ

🌸การจัดกิจกรรมสร้างป่าให้ชุมชน จัดขึ้นมาเพื่อ 🌍 เพิ่มพื้นที่สีเขียว 🌍 ลดสภาวะโลกร้อน 📝เสริมสร้างความรู้ภายในชุมชน 👫สร้างความสัมพันธ์ไมตรีในสังคม

☘️กิจกรรมสร้างป่าให้ชุมชน จะไม่สามารถเกิดขึ้นได้ ถ้าไม่เกิดความร่วมมือของหน่วยงานราชการ ชุมชน บริษัทติลลิกีแอนด์กิบบินส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด และมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น ที่ได้ร่วมมือกันอย่างเข้มแข็ง

☘️ขอขอบพระคุณอย่างยิ่ง ที่ยังคงได้ความสนับสนุนอย่างยั่งยืนจาก บริษัทติลลิกีแอนด์กิบบินส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ที่ได้ให้ความสนับสนุนในการจัดกิจกรรมสร้างป่าให้ชุมชน
https://www.facebook.com/tillekegibbins
http://www.tilleke.com/

(thank you)👦🏻👩🏻 ขอขอบคุณวิทยากร 🟰นายนพพร นนทภา ผู้เชี่ยวชาญด้านฟื้นฟูระบบนิเวศ
ผศ.ดร.จิตรตรา เพียภูเขียว ประธานมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น อาจารย์ประจำภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผศ.ดร.ชนิตา ปาลิยะวุฒิ กรรมการและเหรัญญิกมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น อาจารย์ประจำภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

🪴ท่านใดที่สนใจร่วมกิจกรรม หรือ สนใจการจัดกิจกรรม เพื่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน🪴

สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ ⬇️⬇️⬇️
Facebook : มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation
Instagram : NSRF_Foundation
Email : [email protected]
Website : https://nsrf.or.th
Phone number : 0937815002

10/06/2023

สถานการณ์ป่าไม้ไทย ปี 2565
ปี 2565 ประเทศไทยมีพื้นที่ที่มีสภาพป่าไม้เพียง 31.57 % ของพื้นที่ประเทศไทย หรือคิดเป็น 102,135,974.96 ไร่ ซึ่งลดลดลงจากปี 2564 ประมาณ 0.02 % คิดเป็น 76,459.41 ไร่ อย่างไรก็ตามจากรายงานสถานการณ์ป่าไม้ของไทยตั้งแต่ปี 2556 – 2565 มีอัตราการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ป่าไม้ค่อนข้างจะคงที่ และในช่วง 3 ปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันพื้นที่ป่าไม้ของไทยมีการลดลงทุกปี สาเหตุสำคัญที่ทำให้พื้นที่ป่าไม้ลดลง ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน (Land Use Change) หรือเกิดจากปัญหาไฟป่า (Forest Fire) เป็นต้น
ข้อมูลสภาพพื้นที่ป่าไม้แบ่งตามภูมิภาค
• ภาคกลาง มีพื้นที่ป่าไม้ 12,273,419.39 ไร่ คิดเป็น 21.57% ของพื้นที่ภูมิภาค (เพิ่มขึ้น 0.27%)
• ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่ป่าไม้ 15,695,705.86 ไร่ คิดเป็น 14.97% ของพื้นที่ภูมิภาค (ลดลง 0.04%)
• ภาคตะวันออก มีพื้นที่ป่าไม้ 4,711,228.29 ไร่ คิดเป็น 21.86% ของพื้นที่ภูมิภาค (ลดลง 0.21%)
• ภาคตะวันตก มีพื้นที่ป่าไม้ 20,083,474.07 ไร่ คิดเป็น 59.00% ของพื้นที่ภูมิภาค (ลดลง 0.09%)
• ภาคใต้ มีพื้นที่ป่าไม้ 11,224,484.95 ไร่ คิดเป็น 24.32% ของพื้นที่ภูมิภาค (เพิ่มขึ้น 0.05%)
• ภาคเหนือ มีพื้นที่ป่าไม้ 38,147,662.41 ไร่ คิดเป็น 63.53% ของพื้นที่ภูมิภาค (ลดลง 0.07%)

เมื่อนำข้อมูลสภาพพื้นที่ป่าไม้ ปี 2565 มาวิเคราะห์หาการเปลี่ยนแปลงของสภาพพื้นที่ป่าไม้และพื้นที่ที่ไม่ใช่ป่าไม้โดยการเปรียบเทียบข้อมูลสภาพพื้นที่ป่าไม้ ปี 2564 สามารถแบ่งรูปแบบการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่ออกเป็น 4 ลักษณะ ดังนี้
1. พื้นที่ป่าไม้ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
2. พื้นที่ป่าไม้เปลี่ยนแปลงไปเป็นพื้นที่ที่ไม่ใช่ป่าไม้
3. พื้นที่ที่ไม่ใช่ป่าไม้ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
4. พื้นที่ที่ไม่ใช่ป่าไม้เปลี่ยนแปลงมาเป็นพื้นที่ป่าไม้
สรุปได้ว่า มีพื้นที่ป่าไม้ 101,905,548.16 ไร่ หรือร้อยละ 31.50 ของพื้นที่ประเทศ ที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในรอบปีที่ผ่านมา ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวถือได้ว่าเป็นพื้นที่ป่าไม้ที่มีการป้องกันและรักษาเป็นอย่างดี มีพื้นที่ 306,886.17 ไร่ ที่ถูกเปลี่ยนสภาพจากพื้นที่ป่าไม้เป็นรูปแบบการใช้ประโยชน์ที่ดินอื่น ๆ และในขณะเดียวกันมีพื้นที่อีก 230,426.78 ไร่ เปลี่ยนจากการใช้ประโยชน์ที่ดินอื่น ๆ กลับมาเป็นพื้นที่ป่าไม้ รวมถึงพื้นที่ป่าไม้ที่มีการฟื้นคืนสภาพตามธรรมชาติ
หมายเหตุ* จังหวัดที่ไม่พบพื้นที่ป่าไม้ ได้แก่ นนทบุรี ปทุมธานี และอ่างทอง
อ้างอิง: โครงการจัดทำข้อมูลสภาพพื้นที่ป่าไม้ ปี พ.ศ. 2565. สำนักจัดการที่ดินป่าไม้. กรมป่าไม้

30/05/2023

ปลูกป่าขายคาร์บอน เครดิต ในประเทศไทยเป็นไปได้มากน้อยแค่ไหน ลองอ่านข้อมูล คัดลอกมาจาก #ป่าชุมชนออนไลน์

🌳‘คาร์บอนเครดิต’ (Carbon Credit) ไม่ใช่เรื่องใหม่อีกต่อไป เพราะในชั่วโมงนี้ถูกนำมาใช้กำหนดนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมทั้งในประเทศไทยและหลายประเทศทั่วโลก เพื่อหวังลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ในภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ และกลายเป็นสิ่งที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ ช่วยสร้างสมดุลในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกไม่ให้ออกมาทำร้ายโลกมากเกินไป
“คาร์บอนเครดิต” คือ สิทธิที่บุคคลหรือองค์กรได้รับจากการลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์หรือก๊าซเรือนกระจกในแต่ละปี ซึ่งหากปล่อยน้อยกว่าเกณฑ์ที่กำหนด ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เหลือก็จะถูกนำมาตีราคา และสามารถนำไปจำหน่ายในรูปแบบคาร์บอนเครดิต ให้กับองค์กรอื่นๆ ที่ต้องการได้ มีหน่วยเป็น “ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (tCO2eq)”
“ตลาดคาร์บอนเครดิต” (Carbon Market) เป็นพื้นที่ของการซื้อขายคาร์บอนเครดิต โดยมีเป้าหมายเพื่อลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์หรือก๊าซเรือนกระจก เป็นการเปิดโอกาสให้คนที่สามารถควบคุมปริมาณการปล่อยก๊าซในระดับต่ำจน “มีเหลือ” สามารถนำ “ส่วนต่าง” มาซื้อขายให้กับผู้ผลิต หน่วยงาน หรือองค์กร ที่มีการปล่อยก๊าซเกินปริมาณที่กำหนดไว้ หรือไม่สามารถลดการปล่อยก๊าซได้ด้วยตนเอง คล้ายๆ กับการซื้อโควตาเพิ่ม ไม่เช่นนั้นก็ต้องจ่ายค่าปรับและมีค่าใช้จ่ายเพิ่มสูงขึ้น โดยการกำหนดราคาคาร์บอนเครดิต อยู่บนพื้นฐานของการคำนึงถึงผลกระทบของการปล่อยมลภาวะสู่สิ่งแวดล้อม ผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคม อีกทั้งต้นทุนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
สำหรับ “คาร์บอนเครดิตในประเทศไทย” ผู้ที่เข้าร่วมการซื้อขายจะต้องได้รับการรับรองจากคณะกรรมการองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ดูแลจัดการเรื่องก๊าซเรือนกระจกและเป็นศูนย์กลางข้อมูลให้ความรู้ด้านคาร์บอนเครดิต โดยดำเนินภายใต้ผ่านโครงการ Thailand Voluntary Emissions Reduction หรือที่เรียกว่า T-VER ซึ่งเป็นโครงการลดก๊าซเรือนกระจกในประเทศไทยโดยความสมัครใจ
โดยราคาคาร์บอนเครดิตมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากปี 2561 อยู่ที่ 21.37 บาท / tCO2eq ขณะที่ ปี 2565 ราคาคาร์บอนเครดิต อยู่ที่ 107.23 บาท / tCO2eq เพิ่มขึ้น 85.86 บาท ในเวลาไม่ถึง 5 ปี
ด้วยความตื่นตัวเกี่ยวกับปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมจากทั่วโลก ทำให้ตลาดคาร์บอนเครดิตมีแนวโน้มเติบโตขึ้น และจุดประกายให้ผู้ประกอบการหันมาตระหนักถึงการมีส่วนร่วมในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างเป็นรูปธรรม
มีการส่งเสริมการปลูกป่า ทำโครงการเพื่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้นตามไปด้วย ขณะเดียวกัน ผู้ประกอบการเองยังได้รับประโยชน์จากการซื้อขายคาร์บอนเครดิต เกิดผลกำไรทางธุรกิจนอกเหนือจากรายได้จากการประกอบกิจการตามปกติ อย่างไรก็ตาม ผลสุดท้ายปลายทางที่ทุกคนจะได้ คือ การลดภาวะโลกร้อน เพราะหากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรุนแรงมากขึ้น ก็จะส่งผลกระทบเป็นวงกว้างแบบไม่แบ่งกลุ่ม ไม่แบ่งชนชั้น ดังนั้นการร่วมมือกันเพื่อช่วยลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกจึงเป็นผลดีสำหรับทุกคนบนโลกนี้
ที่มาข้อมูล : petromat https://petromat.org/home/carbon-credit/
ไทยรัฐ https://www.thairath.co.th/lifestyle/life/2640661
SCB https://bit.ly/43oabmX
BangkokBank https://www.bangkokbanksme.com/en/6sme3-carbon-credit
MReport https://bit.ly/3M9ZOfK
อบก. http://carbonmarket.tgo.or.th/index.php?lang=TH&mod=aG9tZQ==
#กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม

23/04/2023

☀️ช่วงนี้ใกล้หมดหน้าร้อน 🥑เมล็ดไม้ก็เริ่มร่วงโรย เข้าสู่ฤดูกาลเตรียมกล้าไม้คุณภาพ🪴

มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น นำเทคนิคที่น่าสนใจเพื่อสามารถผลิตกล้าไม้ที่มีคุณภาพ ให้ทุกท่านได้ลองศึกษาและทดลองมาฝากคะ
#เป็นลิงค์ที่สามารถเลือกเข้าไปศึกษาได้เลยคะ (วิดีโอเต็ม จะลงภายหลัง)

1. เริ่มต้นจากสายพันธุ์ที่ดี
https://drive.google.com/file/d/1C9AauqLKiAKyFSildyir3JYPpljMuHWa/view?usp=drivesdk

2. เพาะเมล็ดอย่างไรให้รอด
https://drive.google.com/file/d/1qpkL2_FomVULDSLZ93eSK4x2FjwRH5Eb/view?usp=drivesdk

3.กล้าต้องแข็งแกร่ง
https://drive.google.com/file/d/1iTydnaz6WU0j1vWrRIbY-IdbR6FXCs6k/view?usp=drivesdk

4.ย้ายปลูกต้องรอด
https://drive.google.com/file/d/1gFQ9djefj_M8IYEnn3RkfRfYjLCmPhry/view?usp=drivesdk

5.ดูแลกล้าไม้ให้สวยงาม
https://drive.google.com/file/d/1MuAnqZ5R03pyITZ-Hw4CIoicmom9JZu3/view?usp=drivesdk

สนใจกิจกรรมต่างๆ หรือสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม สามารถ Inbox สอบถามได้เลยทางเพจมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น คะ

สำเนาของ C1 Sub.mp4

Photos from มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation's post 15/04/2023

#สงกรานต์ 2023
💦ใครว่าสงกรานต์นี้…..มูลนิธิฯ ตกเทรน เดี๋ยวตีเลย🫧
สงกรานต์นี้สาดน้ำใส่คนเสร็จ ก็ยังไม่ลืมที่จะสาดน้ำแบบบรรจงให้กับเด็กๆในป่านะคะ

🪴ร้อนแบบนี้…..ต้นไม้ยิ่งอยากได้น้ำ ร่วมกันรณรงค์ปลูกต้นไม้ อย่าเดินหันหลัง หยิบน้ำมาสักขันรดต้นไม้กันนะคะ

#กิจกรรมสร้างป่าให้ชุมชน ป่าชุมชนบ้านถ้ำน้ำพุ หมู่ที่ 10 ต.ทับกวาง อ.แก่งคอย จ.สระบุรี

🌿ทางมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นได้มีการติดตามการเจริญเติบโต หลังจากได้รับการสนับสนุนจัดกิจกรรมในปีที่ผ่านมา จากบริษัทI Plus Q จำกัด บริษัท เดอะมิทธ์ จำกัด และบริษัท I am ingredient จำกัด

🌍มีข้อสงสัย สอบถามเพิ่มเติมรายละเอียดต่างๆเกี่ยวกับกิจกรรม หรือข้อมูลการฟื้นฟูพื้นที่ สามารถ Inbox ในเพจมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นได้ตลอดเวลานะคะ🍃

Photos from มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation's post 05/04/2023

☀️🪴การเดินทางแห่งการเรียนรู้และเติบโตของเหล่าต้นกล้า (คุณภาพ) ของมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น ได้ล่วงเดินทางผจญภัยในช่วงฤดูร้อนแล้งมาได้กล้าแกร่ง และกล้าหาญ ใกล้หมดฤดูแล้งแล้วต้นกล้าของเรายังคงสดชื่นแจ่มใส ☀️🪴

🌳🪴ระยะเวลา 4 เดือน แห่งการปลูกป่าฟื้นฟูภายในพื้นที่ ยังคงมีอัตรารอด 100% และครานี้มีผู้เชี่ยวชาญ #นพพร นนทภา โรงเรียนปลูกป่า อ.เมือง จ.ขอนแก่น Forest Plantation School เข้ามาตรวจผลสุขภาพ และดูผลงานอันแสนรื่นรมย์ของทางมูลนิธิฯในการจัดระบบและวางแผนปลูกไม้พื้นถิ่นที่เหมาะสมในพื้นที่

#ทุกการปลูกป่ามูลนิธิฯใส่ใจทุกขั้นตอนอย่างประณีต ตั้งแต่คัดเลือกเมล็ดพันธ์ุไม้จนได้ป่าที่มีประสิทธิภาพ

👏🏼🌳ขอบคุณผู้สนับสนุนกิตติมศักดิ์ของมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น ➡️ บริษัทติลลิกีแอนด์กิบบินส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ที่สนับสนุนอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างป่า….ให้เป็นป่า

#กิจกรรมสร้างป่าให้ชุมชน ป่าชุมชนบ้านถ้ำน้ำพุ หมู่ที่ 10 ต.ทับกวาง อ.แก่งคอย จ.สระบุรี
🌍มีข้อสงสัย สอบถามเพิ่มเติมรายละเอียดต่างๆเกี่ยวกับกิจกรรม หรือข้อมูลการฟื้นฟูพื้นที่ สามารถ Inbox ในเพจมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นได้ตลอดเวลานะคะ🍃

Photos from มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation's post 07/03/2023

#กิจกรรมสร้างป่าให้ชุมชน ป่าชุมชนบ้านถ้ำน้ำพุ หมู่ที่ 10 ต.ทับกวาง อ.แก่งคอย จ.สระบุรี

🌳 บริษัทติลลิกีแอนด์กิบบินส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด หลังจากจัดกิจกรรม (CSR) ด้านสิ่งแวดล้อมกับทางมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น ทางบริษัทได้ให้การสนับสนุนและเห็นคุณค่าในการวางแผนดูแลหลังการปลูกอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างป่า.....ให้เป็นป่า

🌳เป็นระยะเวลา 3 เดือน อัตราการรอดภายในพื้นที่ 100%

🌳อุปสรรคที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่เราต้องเผชิญคือ ภาวะแห้งแล้ง
สภาพดินในพื้นที่เริ่มเกิดการขาดน้ำ
ต้นกล้าเริ่มผลัดใบตัวเองทิ้งตามวิสัยทางธรรมชาติของต้นไม้ตามธรรมชาติ

🌳เราจึงต้องมีแผนดูแลหลังการปลูก เพื่อเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่

🌿เพราะเหตุผลนี้การปลูกป่า....ให้ได้ป่านั้น จึงจะเป็นที่ต้องดูแลและใส่ใจ
เพราะธรรมชาติเป็นเรื่องสำคัญที่ใกล้ตัวเรามากกว่าที่คิด🌳🌲🌳

🌍มีข้อสงสัย สอบถามเพิ่มเติมรายละเอียดต่างๆเกี่ยวกับกิจกรรม หรือข้อมูลการฟื้นฟูพื้นที่ สามารถ Inbox ในเพจมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นได้ตลอดเวลานะคะ🍃

Photos from มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation's post 28/02/2023

#กิจกรรมสร้างป่าให้ชุมชน ป่าชุมชนบ้านถ้ำน้ำพุ หมู่ที่ 10 ต.ทับกวาง อ.แก่งคอย จ.สระบุรี

🌲หลังจากปลูกป่าฟื้นฟูในพื้นที่เป็นระยะเวลา 3 เดือน อัตราการรอดภายในพื้นที่ 100%

🌲อุปสรรคที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่ในช่วงฤดูร้อนที่เราต้องเผชิญคือ ภาวะแห้งแล้ง สภาพดินในพื้นที่เริ่มเกิดการขาดน้ำและต้นกล้าเริ่มผลัดใบตัวเองทิ้งตามวิสัยทางธรรมชาติของต้นไม้ตามธรรมชาติ

🌲เราจึงต้องมีแผนดูแลหลังการปลูก เพื่อเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่

🌿ทางมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นได้มีการติดตามการเจริญเติบโต หลังจากได้รับการสนับสนุนจัดกิจกรรมในปีที่ผ่านมา จากบริษัทI Plus Q จำกัด บริษัท เดอะมิทธ์ จำกัด และบริษัท I am ingredient จำกัด

🌿เพราะเหตุผลนี้การปลูกป่า....ให้ได้ป่านั้น จึงจะเป็นที่ต้องดูแลและใส่ใจ
เพราะธรรมชาติเป็นเรื่องสำคัญที่ใกล้ตัวเรามากกว่าที่คิด🌳🌲🌳

🌍มีข้อสงสัย สอบถามเพิ่มเติมรายละเอียดต่างๆเกี่ยวกับกิจกรรม หรือข้อมูลการฟื้นฟูพื้นที่ สามารถ Inbox ในเพจมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นได้ตลอดเวลานะคะ🍃

Photos from มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation's post 10/02/2023

#กิจกรรมสร้างป่าให้ชุมชน ป่าชุมชนบ้านถ้ำน้ำพุ หมู่ที่ 10 ต.ทับกวาง อ.แก่งคอย จ.สระบุรี

🌿ทางมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นได้มีการติดตามการเจริญเติบโต หลังจากได้รับการสนับสนุนจัดกิจกรรมในปีที่ผ่านมา จากบริษัทI Plus Q จำกัด บริษัท เดอะมิทธ์ จำกัด และบริษัท I am ingredient จำกัด

🌿ทางมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นยังคงดูแลหลังการปลูกในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างป่า.....ให้เป็นป่า ดั่งตั้งจิตไว้ดั่งนักอนุรักษ์และฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ

🌿หลังจากจัดกิจกรรมสร้างป่าให้ชุมชน ได้ระยะเวลา 2 เดือน อัตราการรอด 100% เป็นผลที่เกิดจากการปลูกอย่างประณีต และปลูกกล้าไม้ที่ตามลักษณะพื้นที่และเป็นพื้นถิ่นนั้นๆ

🌿เพราะเหตุผลนี้การปลูกป่า....ให้ได้ป่านั้น จึงจะเป็นที่ต้องดูแลและใส่ใจ
เพราะธรรมชาติเป็นเรื่องสำคัญที่ใกล้ตัวเรามากกว่าที่คิด🌳🌲🌳

🌍มีข้อสงสัย สอบถามเพิ่มเติมรายละเอียดต่างๆเกี่ยวกับกิจกรรม หรือข้อมูลการฟื้นฟูพื้นที่ สามารถ Inbox ในเพจมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นได้ตลอดเวลานะคะ🍃

Photos from มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation's post 04/02/2023

#กิจกรรมสร้างป่าให้ชุมชน ป่าชุมชนบ้านถ้ำน้ำพุ หมู่ที่ 10 ต.ทับกวาง อ.แก่งคอย จ.สระบุรี

🌿ทางมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นได้มีการติดตามการเจริญเติบโตและได้รับการสนับสนุนต่อเนื่องจากบริษัทติลลิกีแอนด์กิบบินส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ในการดูแลหลังการปลูกอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างป่า.....ให้เป็นป่า ดั่งตั้งจิตไว้ดั่งนักอนุรักษ์และฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ

🌿หลังจากจัดกิจกรรมสร้างป่าให้ชุมชน ได้ระยะเวลา 2 เดือน อัตราการรอด 100% เป็นผลที่เกิดจากการปลูกอย่างประณีต และปลูกกล้าไม้ที่ตามลักษณะพื้นที่และเป็นพื้นถิ่นนั้นๆ

🌿เพราะเหตุผลนี้การปลูกป่า....ให้ได้ป่านั้น จึงจะเป็นที่ต้องดูแลและใส่ใจ
เพราะธรรมชาติเป็นเรื่องสำคัญที่ใกล้ตัวเรามากกว่าที่คิด🌳🌲🌳

🌍มีข้อสงสัย สอบถามเพิ่มเติมรายละเอียดต่างๆเกี่ยวกับกิจกรรม หรือข้อมูลการฟื้นฟูพื้นที่ สามารถ Inbox ในเพจมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นได้ตลอดเวลานะคะ🍃

Photos from มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation's post 20/01/2023

🌱การติดตามผลของกิจกรรม สร้างป่าให้ชุมชน ณ ป่าชุมชนบ้านถ้ำน้ำพุ ต.ทับกวาง อ.แก่งคอย จ.สระบุรี
🍀ผ่านมาแล้ว 1 เดือนสำหรับกิจกรรมที่เพิ่มพื้นที่สีเขียวให้สิ่งแวดล้อมและชุมชน ในกิจกรรม สร้างป่าให้ชุมชน
ที่ได้รับความร่วมมือจาก บริษัทI Plus Q จำกัด บริษัท เดอะมิทธ์ จำกัด และบริษัท I am ingredient จำกัด ซึ่งต้นไม้ที่ได้มีการปลูกในกิจกรรมนี้ มีอัตราการรอดตาย 100 เปอร์เซ็นต์ โดยมีผลจากการที่ได้ปลูกป่าแบบประณีตที่ใช้ไม้พื้นถิ่นและการดูแลต้นไม้ในช่วงต้นที่จะช่วยต้นไม้ที่ปลูกมีโอกาสรอดตายที่มากขึ้น ดังนั้นจึงขอขอบคุณ บริษัทI Plus Q จำกัด บริษัท เดอะมิทธ์ จำกัด และบริษัท I am ingredient จำกัด ที่ได้มาร่วมกิจกรรมสร้างป่าให้ชุมชน

🍀เริ่มปลูกวันนี้จะได้ป่าในวันหน้า🌳🌳🌳

สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ ⬇️⬇️⬇️
Facebook : มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation
Instagram : NSRF_Foundation
Email : [email protected]
Website : https://nsrf.or.th
Phone number : 0937815002

Photos from มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation's post 13/01/2023

🌱การติดตามผลของกิจกรรม สร้างป่าให้ชุมชน ณ ป่าชุมชนบ้านถ้ำน้ำพุ ต.ทับกวาง อ.แก่งคอย จ.สระบุรี
🌳🌳 หลังจากการดำเนินกิจกรรม 1 เดือน การปลูกป่าของบริษัทติลลิกีแอนด์กิบบินส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด พบว่าต้นไม้ที่มีการปลูกมีอัตราการรอดตาย 100 เปอร์เซ็นต์ นับเป็นเรื่องที่ดีในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับสิ่งแวดล้อมและชาวบ้านในพื้นที่ ดังนั้นขอขอบคุณบริษัทติลลิกีแอนด์กิบบินส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ที่เล็งเห็นความสำคัญและประโยชน์ในกิจกรรมปลูกป่าให้ชุมชน

🌳🌳ต้นไม้ให้อะไรมากกว่าที่เราคิด🤔

สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ ⬇️⬇️⬇️
Facebook : มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation
Instagram : NSRF_Foundation
Email : [email protected]
Website : https://nsrf.or.th
Phone number : 0937815002

11/01/2023

#วันเด็กแห่งชาติ 2566 👧🏻🧒🏻👦🏽👩🏼👱🏻
ใกล้งานวันเด็กแห่งชาติ 2566 ท่านใดสนใจบริจาคสิ่งของ หรือ ทุนทรัพย์
สามารถติดต่อมายังทางโรงเรียนบ้านฮั่ว หรือ Inbox สอบถามมาทางมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น ได้เลยนะคะ

Photos from มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation's post 01/12/2022

เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2565
#กิจกรรมสร้างป่าให้ชุมชน

🌱ณ ป่าชุมชนบ้านถ้ำน้ำพุ ต.ทับกวาง อ.แก่งคอย จ.สระบุรี
จุดบริการนักท่องเที่ยว บ้านถ้ำน้ำพุ
https://maps.app.goo.gl/kv85rkx38BH8DZu77?g_st=ic
หลังจากที่เราได้จัดกิจกรรมและได้สัมผัสชุมชนและพื้นที่ป่าเราจึงมีความแน่วแน่เต็มไปด้วยความตั้งใจที่แรงกล้าที่จะสร้างป่าผืนนี้ให้มีระบบนิเวศกลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้งหนึ่ง

🌱มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นจึงได้เล็งเห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่ และได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างมากจาก “บริษัทI Plus Q จำกัด บริษัท เดอะมิทธ์ จำกัด และบริษัท I am ingredient จำกัด”
โดยกำหนดกิจกรรมขึ้นมาชื่อว่า “ สร้างป่าให้ชุมชน ภายใต้โครงการฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นด้วยราไมคอร์ไรซา” ภายในกิจกรรมดังกล่าวมีการให้ความรู้ความเข้าใจและสร้างจิตสำนึกให้กับชาวบ้านในพื้นที่และบุคลากรภายในบริษัท

🌱ภายในการจัดกิจกรรมมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น ได้ให้ความรู้ทางวิชาการและการปฏิบัติในพื้นที่จริง โดยให้ความรู้ในเรื่องของจุลินทรีย์และเห็ดรา รวมไปถึงการปลูกป่าอย่างไรให้ได้ป่า
ดังนั้นการปลูกป่าแบบประณีตจึงเป็นสิ่งสำคัญในการให้ความรู้ในเรื่องของการปลูกป่า โดยมี
👱🏼‍♂️”อาจารย์นพพร นนทภา” ที่ปรึกษามูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น และ
👩🏼“ผศ.ดร. จิตรตรา เพียภูเขียว” ประธานกรรมการมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น
เป็นผู้ให้ความรู้ในกิจกรรมสร้างป่าให้ชุมชน

🌱การปลูกป่าอย่างไรให้ได้ป่า จะสำเร็จได้จะต้องปลูกไม้พื้นถิ่นที่เป็นระบบนิเวศเดิม และการประณีตตั้งแต่การปลูกจนไปถึงการดูแลจนเกิดป่าที่สมบูรณ์ พื้นที่ป่าชุมชนแห่งนี้มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นจึงไม่ใช่แค่ปลูกแล้วหันหลังกลับ แต่ทางเรารับผิดชอบและดูแลเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 3 ปี เพื่อให้แน่ใจว่าพื้นที่แห่งนี้จะเป็นป่าขึ้นมาเหมือนดั่งเดิม

🌳สุดท้ายนี้ขอขอบคุณบริษัทI Plus Q จำกัด บริษัท เดอะมิทธ์ จำกัด และบริษัท I am ingredient จำกัด
https://www.iplusq.com
https://www.facebook.com/iplusq
http://www.themyth.co.th/
https://www.facebook.com/themythsince1998
https://iamingredient.com/who-am-i

และความร่วมมือต่างๆจากชาวบ้านภายในชุมชน รวมไปถึงหน่วยงานราชการภายในท้องถิ่น และสำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 5 (สระบุรี)
ที่เล็งเห็นความสำคัญและประโยชน์ในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับชุมชนและประเทศ เพื่อลดปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก รวมถึงการสร้างจิตสำนึกและตระหนักถึงความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืน🌳

🪴ท่านใดที่สนใจร่วมกิจกรรม หรือ สนใจการจัดกิจกรรม เพื่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน🪴

สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ ⬇️⬇️⬇️
Facebook : มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation
Instagram : NSRF_Foundation
Email : [email protected]
Website : https://nsrf.or.th
Phone number : 0937815002

24/11/2022

📣 ประกาศรางวัลผู้ร่วมโหวตภาพถ่ายที่ #เหตุผลโดนใจกรรมการ จากกิจกรรมชิงเงินรางวัลร่วมโหวตภาพถ่ายโดนใจ 📸 ในหัวข้อ 🌳 “ปลูกป่า...ได้มากกว่าป่า” 🍄

รางวัลถูกใจที่สุดดด‼️
🏆 คุณพิชิตชัย หงษ์ทอง

รางวัลถูกใจเหมือนกันนะจ๊ะ 😘
🏅 คุณเกรียงไกร​ ฮ่อ​ง​เฮง​เส็ง​
🏅 คุณนิอามีนะห์ เจ๊ะอาแซ
🏅 คุณวิชฟยา พันธ์สวัสดิ์

ขอแสดงความยินดีกับผู้ที่ได้รับรางวัลทุกท่านด้วยค่า!!! 👏👏👏
รอรับการติดต่อจากพวกเราทางอีเมลได้เลยนะคะ 😊💚
#มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น #ปลูกป่าให้ได้ป่า

Photos from มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation's post 24/11/2022

📣 ประกาศภาพที่ได้รับผลโหวตมากที่สุด จากกิจกรรมชิงเงินรางวัลร่วมโหวตภาพถ่ายโดนใจ 📸 ในหัวข้อ
🌳 “ปลูกป่า...ได้มากกว่าป่า” 🍄

ผลงานภาพถ่าย “ฝีมือชุมชน” จาก #โครงการฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นด้วยราเอคโตไมคอร์ไรซาในประเทศไทย ที่ชนะเลิศได้แก่......

🌟✨ ภาพที่ 4 "จากปาล์ม...สู่ป่า" ✨🌟
ผู้ร่วมส่งประกวด: แปลงโครงการฯ จ.กระบี่

สำหรับใครที่ร่วมโหวตภาพนี้ รอติดตามประกาศรายชื่อผู้ที่ #ให้เหตุผล ถูกใจคณะกรรมการ #คืนนี้ เวลา 20.00 น. และเตรียมรับการติดต่อทางอีเมลจากพวกเรานะคะ ขอขอบคุณทุกการโหวตที่ล้นหลามมาก ๆ เลยค่า 😊💚

#มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น #ปลูกป่าให้ได้ป่า

Photos from มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation's post 22/11/2022

เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2565
#กิจกรรมสร้างป่าให้ชุมชน

🌱ณ ป่าชุมชนบ้านถ้ำน้ำพุ ต.ทับกวาง อ.แก่งคอย จ.สระบุรี
จุดบริการนักท่องเที่ยว บ้านถ้ำน้ำพุ
https://maps.app.goo.gl/kv85rkx38BH8DZu77?g_st=ic
พื้นที่ป่าชุมชนแห่งนี้มีประวัติศาสตร์อันยาวนานตั้งแต่ยุคสมัยทราวดี และเป็นพื้นที่ป่าอันเก่าแก่ที่หนึ่งของไทย ในพื้นที่ป่าชุมชนดังกล่าวเป็นพื้นที่ที่มีแร่หินปูนเป็นจำนวนมาก จึงทำให้อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์เข้ามาทำเหมืองและทำลายทรัพยากรธรรมชาติให้เสื่อมสภาพลง

🌱มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นจึงได้เล็งเห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่ และได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างมากจาก “บริษัท ติลลีกีแอนด์กิบบินส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด”
โดยกำหนดกิจกรรมขึ้นมาชื่อว่า “ สร้างป่าให้ชุมชน ภายใต้โครงการฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นด้วยราไมคอร์ไรซา” ภายในกิจกรรมดังกล่าวมีการให้ความรู้ความเข้าใจและสร้างจิตสำนึกให้กับชาวบ้านในพื้นที่และบุคลากรภายในบริษัท

🌱ภายในการจัดกิจกรรมมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น ได้ให้ความรู้ทางวิชาการและการปฏิบัติในพื้นที่จริง โดยให้ความรู้ในเรื่องของจุลินทรีย์และเห็ดรา รวมไปถึงการปลูกป่าอย่างไรให้ได้ป่า
ดังนั้นการปลูกป่าแบบประณีตจึงเป็นสิ่งสำคัญในการให้ความรู้ในเรื่องของการปลูกป่า โดยมี
👱🏼‍♂️”อาจารย์นพพร นนทภา” ที่ปรึกษามูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น และ
👩🏼“ผศ.ดร. จิตรตรา เพียภูเขียว” ประธานกรรมการมูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น
เป็นผู้ให้ความรู้ในกิจกรรมสร้างป่าให้ชุมชน

🌱การปลูกป่าอย่างไรให้ได้ป่า จะสำเร็จได้จะต้องปลูกไม้พื้นถิ่นที่เป็นระบบนิเวศเดิม และการประณีตตั้งแต่การปลูกจนไปถึงการดูแลจนเกิดป่าที่สมบูรณ์ พื้นที่ป่าชุมชนแห่งนี้มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นจึงไม่ใช่แค่ปลูกแล้วหันหลังกลับ แต่ทางเรารับผิดชอบและดูแลเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 3 ปี เพื่อให้แน่ใจว่าพื้นที่แห่งนี้จะเป็นป่าขึ้นมาเหมือนดั่งเดิม

🌳สุดท้ายนี้ขอขอบคุณบริษัทติลลิกีแอนด์กิบบินส์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด
https://www.facebook.com/tillekegibbins
http://www.tilleke.com/
และความร่วมมือต่างๆจากชาวบ้านภายในชุมชน รวมไปถึงหน่วยงานราชการภายในท้องถิ่น และสำนักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 5 (สระบุรี)
ที่เล็งเห็นความสำคัญและประโยชน์ในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับชุมชนและประเทศ เพื่อลดปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก รวมถึงการสร้างจิตสำนึกและตระหนักถึงความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืน🌳

🪴ท่านใดที่สนใจร่วมกิจกรรม หรือ สนใจการจัดกิจกรรม เพื่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน🪴

สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ ⬇️⬇️⬇️
Facebook : มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น Native Species Reforestation Foundation
Instagram : NSRF_Foundation
Email : [email protected]
Website : https://nsrf.or.th
Phone number : 0937815002

🍄 ปลูกป่า...ได้มากกว่าป่า 🌳 08/11/2022

❌❌ ปิดรับผลโหวตแล้วค่า! ❌❌
ติดตามผลประกาศรางวัล #ภาพชนะเลิศ และ #เหตุผลโดนใจ ได้ทางเพจ FB ของเรา วันพุธที่ 23 พ.ย. 65 นะคะ
ขอขอบคุณทุกคำตอบที่ส่งมาร่วมสนุกชิงรางวัลกันนะค้า 🥰🙏

----------

กิจกรรมชิงเงินรางวัล 📣 ร่วมโหวตภาพถ่ายโดนใจ 📸 ในหัวข้อ

🌳 “ปลูกป่า...ได้มากกว่าป่า” 🍄

ผลงานภาพถ่ายจาก “ฝีมือชุมชน” จาก #โครงการฟื้นฟูป่าพื้นถิ่นด้วยราเอคโตไมคอร์ไรซาในประเทศไทย
(https://www.youtube.com/watch?v=VsqEjdVX5h0&t=12s)

ผู้ที่ร่วมโหวตภาพถ่ายที่ชนะเลิศ และ #ให้เหตุผล ถูกใจคณะกรรมการที่สุด จะได้รับรางวัลเงินสด
🥇 มูลค่า 1,000 บาท จำนวน 1 รางวัล
🏅 มูลค่า 500 บาท จำนวน 3 รางวัล

กติกาในการเข้าร่วมสนุก คือ สามารถเข้าไปโหวตภาพถ่ายได้ที่นี่
☘️ https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLSe9krBWAV6OPAPaAtwO6YE_-MUgE1XbsHfa8flSC9c8zVgiYg/viewform ☘️

#มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น #ปลูกป่าให้ได้ป่า

‼️ ปิดโหวต ‼️ วันพุธที่ 16 พ.ย. เวลา 12.00 น.
ประกาศผลโหวตและผู้ได้รับรางวัลหน้าเพจ FB: มูลนิธิฟื้นฟูป่าพื้นถิ่น

มาร่วมโหวตกันเยอะ ๆ น้า 😊💚

🍄 ปลูกป่า...ได้มากกว่าป่า 🌳 กิจกรรมชิงเงินรางวัล 📣 ร่วมโหวตภาพถ่ายโดนใจ 📸 ในหัวข้อ "ปลูกป่า...ได้มากกว่าป่า" ผลงานภาพถ่ายจาก "ฝีมือชุมชน...

ต้องการให้ธุรกิจของคุณ ธุรกิจ ขึ้นเป็นอันดับหนึ่ง องค์กรไม่แสวงหาผลกำไร ใน Bangkok?
คลิกที่นี่เพื่อเป็นสมาชิก?

วิดีโอทั้งหมด (แสดงผลทั้งหมด)

"ฟื้นฟูป่า ที่ได้มากกว่าต้นไม้"ผลงาน #เห็ดระโงก 🍄 จากสวนหลังบ้านของคุณ Veewin Vorratiya Sumnaoklang 😯🤤 ขอบคุณที่นำความรู...
เก็บภาพบรรยากาศยามเช้าของน้อง ๆ ก่อนเริ่มกิจกรรม "เพาะเห็ด...เด็ดไปเลย" ณ รร. วัดดอนกอกฯ ล้วนประชาสรรค์ มาฝากกันค่า 😄🍄 ต...
การปลูกป่าแบบประณีต ตอน "การตรวจสอบความมีชีวิตของเมล็ด"
การปลูกป่าแบบประณีต ตอน "การคัดแม่ไม้"

เบอร์โทรศัพท์

เว็บไซต์

ที่อยู่

Bangkok
10700

เวลาทำการ

จันทร์ 09:00 - 17:00
อังคาร 09:00 - 17:00
พุธ 09:00 - 17:00
พฤหัสบดี 09:00 - 17:00
ศุกร์ 09:00 - 17:00

Bangkok องค์กรไม่แสวงหาผลกำไรอื่นๆ (แสดงผลทั้งหมด)
The Rotary Club of Bangkok South The Rotary Club of Bangkok South
The Crowne Plaza Bangkok Lumpini Park Hotel, Lower Ground Floor, 952 Rama IV Road
Bangkok, 10500

Give a little, change a lot... With help of sponsors and donations, we have funded and installed ove

The JUMP Foundation The JUMP Foundation
1/5-1/6, Soi Ari 2, Phahonyothin Road Samsen Nai, Phayathai , กรุงเทพมหานคร
Bangkok, 10200

The JUMP! Foundation is a non-profit organization that believes in inspiring, empowering, and engagin

Love Wildlife Love Wildlife
77 Nakornsawan Road Wat Sommanat, Pomprap Sattruphai
Bangkok, 10100

Love Wildlife is a Thai non-profit organization dedicated to protecting southeast Asian wildlife thro

Imagine Thailand Imagine Thailand
195 Soi Udomsuk 37 Sukhumvit Road
Bangkok, 10261

We believe in the capacity of youth, university students and skilled professionals to create a new f

Guidotti Foundation Guidotti Foundation
Bangkok, 10110

Guidotti Foundation is privately funded, strives in assisting people reaching financial independence

มูลนิธิสถาบันราชพฤกษ์ มูลนิธิสถาบันราชพฤกษ์
19 ซอยกรุงเทพกรีฑา 8 แยก 16 แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ
Bangkok, 10240

A tree planting organization that aims to increase no. of trees in Thailand and raise green awareness

ASAswu ชมรมอาสาพัฒนา มศว ASAswu ชมรมอาสาพัฒนา มศว
114 สุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา
Bangkok, 10110

เพจประชาสัมพันธ์กิจกรรมของชมรมอาส?

ICA Church, International Christian Assembly - Bangkok ICA Church, International Christian Assembly - Bangkok
Manoonpol Building 2, 2884/1 New Petchaburi Road
Bangkok, 10310

Services 9am (Thai Translation) and 11am Sundays and online service through Facebook live at 11am and

Human Development Forum Foundation Human Development Forum Foundation
BP Place, 5 Paholyothin Soi 18, B. P. Place
Bangkok, 10900

Founded in 2007 HDFF's vision is to the address the needs of communities related to Human Security a

มูลนิธิกระจกเงา มูลนิธิกระจกเงา
เลขที่ 191 ซอย วิภาวดีรังสิต 62 แยก 4-7 แขวง ตลาดบางเขน เขต หลักสี่ กรุงเทพมหานคร
Bangkok, 10210

มูลนิธิกระจกเงา เราอาสาเป็นเงาสะท้อนปัญหาของสังคม

Thai - Italian Chamber of Commerce (TICC) Thai - Italian Chamber of Commerce (TICC)
Vanit Building II, 16 Flr. Suite 1601 B, 1126/2 New Petchburi Road
Bangkok, 10400

page of the Thai Italian Chamber of Commerce (TICC)